The Geneva Science and Diplomacy Anticipator (GESDA) is a Swiss foundation that serves as the first global tool for diplomacy based on the anticipation of science
Geneva Science and Diplomacy Anticipator (GESDA) มูลนิธิสัญชาติสวิสที่ทำหน้าที่ เป็นเครื่องมือด้านการทูตระดับโ ลกแห่งแรกโดยอิงตามการคาดการณ์ ทางวิทยาศาสตร์ ได้เปิดเผยรายงานกิจกรรมฉบับแรก และประกาศว่าจะจัดการประชุมสุ ดยอดประจำปีครั้งแรกสำหรับโซลู ชันต่าง ๆ โดยอิงตามแพลตฟอร์มการตัดสินใจที่ เป็นกรรมสิทธิ์ของมูลนิธิอย่าง GESDA Breakthrough Radar
การประชุมสุดยอด GESDA ประจำปีครั้งแรกจะจัดขึ้นในวันที่ 7-9 ต.ค. โดยคาดการณ์ว่าจะมีผู้เข้าร่วมป ระมาณ 300 คน ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่ขององค์ การสหประชาชาติ (UN) ผู้ชนะรางวัลโนเบล และตัวแทนท่านอื่น ๆ จากชุมชน GESDA ทั้ง 4 ชุมชน อันได้แก่ นักวิชาการ นักการทูต ผู้นำที่สร้างผลกระทบ องค์กรพัฒนาเอกชน และประชาชนทั่วไป ณ Campus Biotech ซึ่งเป็นศูนย์วิทยาศาสตร์ของเมื องเจนีวา ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของ GESDA โดยผู้เข้าร่วมจะหารือประเด็นสำ คัญต่าง ๆ ในการประชุมเชิงโต้ตอบและการสนท นาอื่น ๆ ดังนี้
วิธีกระตุ้นระบบพหุภาคีผ่านการค าดการณ์และการดำเนินการในการทู ตวิทยาศาสตร์
ความท้าทายระดับโลกในอนาคตสำหรั บวิศวกรรมจีโนมมนุษย์
อนาคตทั่วไปสำหรับควอนตัมคอมพิว ติง
ถนนสู่การใช้ประโยชน์จากทรัพยาก รอวกาศ
การร่วมพัฒนา AI ขั้นสูงในระดับโลกด้วยการเข้าถึ งที่ปลอดภัยแบบสากล
และแผนการจัดหาเงินทุนและการพัฒ นาในอนาคตตามความก้าวหน้าทางวิท ยาศาสตร์
ในการประชุมสุดยอดดังกล่าว GESDA จะเปิดตัว Breakthrough Radar เครื่องมือการตัดสินใจที่เป็นกร รมสิทธิ์ของมูลนิธิ ซึ่งจะประเมินผลกระทบและแรงผลัก ดันของความก้าวหน้าทางวิทยาศาสต ร์ในอนาคต พร้อมกรอบเวลาที่เกี่ยวข้องกับ GESDA (5, 10 และ 25 ปี) ใน 4 ประเด็นใหม่ทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การปฏิวัติควอนตัมและปัญญาประดิ ษฐ์ขั้นสูง (AI) การเสริมทักษะมนุษย์ (Human Augmentation) การฟื้นฟูเชิงนิเวศ และการแทรกแซงระบบธรรมชาติ เช่นเดียวกับวิทยาศาสตร์และการทู ตเชิงคาดการณ์ ทั้งนี้ เครื่องมือ Breakthrough Radar ได้ออกแบบมาเพื่อจัดทำแผนที่ที่ อ่านง่ายสำหรับการพัฒนาทางวิทยา ศาสตร์ที่อาจเกิดขึ้น และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อผู้ คน สังคม และโลกใบนี้ ขณะที่ GESDA กำลังผลักดันการพัฒนาโซลูชันในเ จนีวาโดยอิงตามการสอดแนมทางวิ ทยาศาสตร์เชิงคาดการณ์ เพื่อรับมือกับความท้าทายระดับโ ลกในปัจจุบันและที่กำลังจะเกิดขึ้ น เช่น
องค์กรลูกผสมที่มีลักษณะคล้าย CERN/IAEA เพื่อรับประกันการเข้าถึงและการ ใช้โครงสร้างพื้นฐานควอนตั มสำหรับการสื่อสารและการประมวลผ ลอย่างปลอดภัย ในลักษณะคล้ายกับองค์กรเพื่อวาร ะความความปลอดภัยระดับชาติและนา นาชาติเชิงกลยุทธ์
การจัดตั้งศาลระดับโลกแห่งใหม่ห รือหน่วยงานระงับข้อพิพาทสำหรับ การกำกับตนเองในเรื่องข้อพิพาทท างวิทยาศาสตร์ด้านจริยธรรม ความเป็นส่วนตัว การกำกับดูแลด้านวิทยาศาสตร์ และผลประโยชน์ของความก้าวหน้าทา งวิทยาศาสตร์โดยรวมต่อมนุษยชาติ
ข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับก ารพัฒนาร่วมกัน การเข้าถึง และการใช้โมเดล AI ขั้นสูง พร้อมกับการสร้างองค์กรเพื่อสนั บสนุนและควบคุมมาตรฐานการกำกับดู แลระดับโลกเหล่านั้น
และการวิจัยและพัฒนาคล้ายโครงกา รแมนฮัตตันที่ดำเนินการเพื่อช่ วยให้วิทยาศาสตร์และอุ ตสาหกรรมเร่งการหยุดปล่อยก๊ าซคาร์บอนของกระบวนการอุตสาหกรร มต่าง ๆ ในทศวรรษหน้า
GESDA ได้เรียกประชุมนักวิทยาศาสตร์ นักการทูตอาวุโส ผู้ใจบุญ หัวหน้าองค์กรระหว่างประเทศ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยและอุตสาหก รรมที่มีชื่อเสียงประมาณ 100 คน ตลอดจนองค์กร NGO และประชาชนทั่วไป ตามที่ระบุรายละเอียดในรายงานกิ จกรรมประจำปีฉบับแรกซึ่งครอบคลุ มปี 2562 และ 2563 อันรวมถึงข้อเท็จจริงสำคัญและตั วเลขเกี่ยวกับความคืบหน้าของมูล นิธิ นอกจากนี้ มูลนิธิได้จัดทำบทสรุปวิทยาศาสต ร์เชิงคาดการณ์ 11 ประการและรวบรวมผู้เชี่ยวชาญด้า นวิทยาศาสตร์ ผู้นำทางการเมืองและธุรกิจ และประชาชนทั่วไปประมาณ 60 คน เพื่อหารือเกี่ยวกับบทสรุปเหล่า นี้ในการประชุมร่วมกันของคณะกรร มการวิชาการและการทูตระดับสู งในเดือนธ.ค. 2563 และ GESDA ได้ดึงดูดเงินทุนเพื่อการกุศลเพื่ อสมทบการระดมทุนระดับ seed funding จากรัฐบาลกลางสวิส เช่นเดียวกับเมืองเจนีวา
รายงานกิจกรรมประจำปีฉบับแรกได้ เผยแพร่ หลังจากรัฐบาลกลางของสวิตเซอร์แ ลนด์เสริมสร้างบทบาทของเมืองเจนี วาในฐานะศูนย์กลางการกำกับดู แลด้านดิจิทัลและเทคโนโลยี ด้วยการแต่งตั้งเอกอัครราชทูต Alexandre Fasel เป็นผู้แทนพิเศษคนแรกสำหรับการทู ตด้านวิทยาศาสตร์ในเจนีวาเมื่ อเดือนก.พ. ที่ผ่านมา
“GESDA ประสบความสำเร็จจนเกินความคาดหม ายของผมจริง ๆ” Peter Brabeck-Letmathe ประธานคณะกรรมการของ GESDA กล่าว “โลกกำลังเผชิญกับความก้าวหน้าท างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่รว ดเร็วอย่างไม่เคยมีมาก่อน การค้นพบเหล่านี้จะพลิกวิธีที่เ รามองตัวเองในฐานะมนุษย์ วิธีสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกั นในสังคม และการดูแลสิ่งแวดล้อม โดย ESDA จะมีบทบาทสำคัญในการคาดการณ์ควา มก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์แนวใหม่ เพื่อให้แน่ใจว่าเราสามารถช่วงชิ งศักยภาพความก้าวหน้าเหล่านั้ นเพื่อความเป็นอยู่ที่ดีทั่วโลก และการพัฒนาที่ครอบคลุม พร้อมกับปกป้องสวัสดิภาพส่วนรวม ของเรา”
“เทคโนโลยีล้ำสมัย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ขั้นสูง การแก้ไขจีโนม การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบประส าท การลดคาร์บอน และการทูตเชิงคำนวณ จะเข้ามามีอิทธิพลระดับโลกในอีก ไม่กี่ทศวรรษข้างหน้า” Patrick Aebischer รองประธาน GESDA และอดีตประธานสถาบันเทคโนโลยีแห่ งสหพันธ์สวิสในโลซาน กล่าว “GESDA จะทำหน้าที่เป็น “คลังสมอง” และ “นักลงมือ” โดยเชื่อมโยงชุมชนต่าง ๆ พร้อมกับทำให้มั่นใจได้ว่าเราสา มารถใช้ประโยชน์สูงสุดจากความก้ าวหน้าทางวิทยาศาสตร์อย่างที่ คาดเอาไว้ เราต้องแน่ใจว่าเราพร้อมที่จะวา งกรอบการกำกับดูแลโดยไม่ทำให้ นวัตกรรมที่จะช่วยยกระดับชีวิ ตของผู้คนก้าวหน้าช้าลง โดยมองไปที่เป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืนและความท้าทายระดับโลกที่กำลังจะมาถึง”
เกี่ยวกับ Geneva Science and Diplomacy Anticipator (GESDA)
Geneva Science and Diplomacy Anticipator (GESDA) เป็นมูลนิธิสัญชาติสวิสและเป็นค วามร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเ อกชนที่ก่อตั้งขึ้นในปี 2562 เพื่อเป็นเครื่องมือทางวิทยาศาส ตร์และการทูตเชิงคาดการณ์เพื่ อผลกระทบที่ใหญ่ขึ้นและประสิทธิ ภาพในระดับพหุภาคี
วิสัยทัศน์อันทะเยอทะยานของ GESDA ในการใช้อนาคตสร้างปัจจุบันสะท้ อนให้เห็นถึงความเร็วของความก้า วหน้าทางวิทยาศาสตร์และพลวัตของ เมืองเจนีวา อันเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของมู ลนิธิซึ่งเป็นศูนย์กลางพหุภาคี ระดับโลกและเป็นที่ตั้งของสำนั กงานใหญ่ในยุโรปขององค์การสหประ ชาชาติ รวมถึงองค์กรเอกชน ธุรกิจระหว่างประเทศ และสถาบันการศึกษาระดับโลกอื่น ๆ มากกว่า 2,000 แห่ง
GESDA ได้แก้ไขปัญหาพื้นฐาน 3 ประการเพื่อรับมือกับความท้าทาย ที่กำลังเกิดขึ้นซึ่งขับเคลื่ อนโดยชุมชนระดับโลกที่มาจากทั่ วทุกมุมโลก ดังนี้
เราเป็นใครในฐานะมนุษย์ การเป็นมนุษย์ในยุคของหุ่นยนต์ การตัดต่อพันธุกรรม และเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) มีความหมายอย่างไร
เราทุกคนจะอยู่ร่วมกันได้อย่างไ ร เทคโนโลยีใดที่สามารถนำไปใช้เพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำ พัฒนาความเป็นอยู่ และส่งเสริมการพัฒนาโดยรวม
เราจะสร้างหลักประกันความเป็นอยู่ ที่ดีของมนุษยชาติและอนาคตที่ยั่ งยืนของโลกใบนี้ได้อย่างไร เราจะจัดหาอาหารและพลังงานที่จำ เป็นให้กับประชากรในขณะที่สร้าง โลกของเราขึ้นมาใหม่อีกครั้งได้ อย่างไร
ในการบรรลุเป้าหมายเหล่านี้ งานของมูลนิธิจึงประกอบด้วย
คาดการณ์ความก้าวหน้าทางวิทยาศา สตร์ที่จะส่งผลกระทบต่อโลก โดยระบุว่า “กำลังดำเนินการอะไร” และจะได้ผลลัพธ์อะไรจากห้องปฏิบั ติการทางวิทยาศาสตร์ในอีก 5, 10 หรือ 25 ปีข้างหน้า (ไม่ว่าจะเป็นในทางวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ หรือมนุษย์) ผ่านทางระบบสอดแนมระดับโลกที่ปรั บปรุงทุกปี โดยมุ่งเน้นถึงผลกระทบที่อาจเกิ ดขึ้นต่อผู้คน สังคม และโลกใบนี้
เร่งหารือเกี่ยวกับโอกาสที่ได้รั บจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เหล่านี้กับบรรดานักการเมือง นักการทูต ผู้ใจบุญ ผู้ประกอบการ องค์กร NGO ประชาชนทั่วไป เพื่อออกแบบโซลูชันที่สามารถจัด การกับความท้าทายระดับโลกในปัจจุ บันหรือที่เกิดขึ้นใหม่ที่มนุ ษยชาติกำลังเผชิญอยู่ รวมถึงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยื นปี 2573 ขององค์การสหประชาชาติ
แปลงโซลูชันเหล่านี้ให้เป็นโครง การที่เป็นรูปธรรมและล้ำสมัย โดยรวบรวมความร่วมมือ พันธมิตร และนักลงทุนที่จำเป็น ในการดำเนินการร่วมกับสถาบันพหุ ภาคีต่าง ๆ ซึ่งเจนีวาเป็นศูนย์กลางการดำเนิ นงานของสหประชาชาติ