Huawei Smart Education Solutions Overview
หัวเว่ยจัดงานประชุมนวัตกรรมการ ศึกษาระดับอุดมศึกษาในเอเชี ยแปซิฟิกผ่านไลฟ์สตรีมมิง ภายใต้ธีม “เปิดรับยุคใหม่ของการศึกษาอัจฉ ริยะ” โดยได้รับเกียรติจากผู้เชี่ยวชา ญในอุตสาหกรรมชั้นนำหลากหลายทั้ งจาก ยูเนสโก-ICHEI, NUS, โอเพ่น ยูนิเวอร์ซิตี้, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยแห่งชาติมาเลเซีย และพีดับบลิวซี รวมถึงผู้อำนวยการด้านข้อมูลข่า วสาร พันธมิตร และผู้ทรงคุณวุฒิในแวดวงธุรกิจอี ก 450 ราย เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์แ ละความเห็นในประเด็นสำคัญในอุตส าหกรรมการศึกษา เช่น วิทยาเขตอัจฉริยะ การศึกษาออนไลน์ และห้องเรียนอัจฉริยะ ตลอดจนหารือร่วมกันถึงแนวโน้มกา รพัฒนาเทคโนโลยี ความท้าทายและโอกาสสำหรับข้อมูล การศึกษาในยุคหลังการแพร่ระบาด
ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกได้พัฒนา อย่างรวดเร็ว และเริ่มมีการขยับอันดับในมหาวิ ทยาลัยโลกสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยที่เทคโนโลยีเริ่มทวีบทบาทคว ามสำคัญมากขึ้นในการเรียนการสอน และการจัดการของมหาวิทยาลัย
นายนิโคลัส มา ประธานกลุ่มธุรกิจเอ็นเตอร์ไพรส์ หัวเว่ย เอเชีย แปซิฟิก เผยถึงความเข้าใจของหัวเว่ยต่อก ารพัฒนาเทคโนโลยีระดับอุดมศึกษา ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก รวมถึงวิสัยทัศน์ของหัวเว่ยต่ออ นาคตของแวดวงอุดมศึกษา หัวเว่ยให้บริการวิทยาลัยและมหา วิทยาลัยกว่า 300 แห่งในเอเชียแปซิฟิกด้วยโซลูชัน ไอซีทีเพื่อการศึกษา และได้ร่วมมือกับสถาบันการศึกษา จัดทำโครงการไอซีที อะคาเดมี 224 แห่ง และมีผู้ผ่านการอบรมแล้วกว่า 10,000 คน นอกจากนี้ หัวเว่ยยังได้พัฒนาทักษะผู้เชี่ ยวชาญด้านไอซีที กว่า 4,300 คนในหลายประเทศ เพื่อให้บริการลูกค้าในอุตสาหกร รมการศึกษาได้อย่างต่อเนื่อง และสร้างผู้มีความสามารถด้านนวั ตกรรมคุณภาพสูงในภูมิภาคเอเชียแ ปซิฟิกให้มากขึ้น
ศาสตราจารย์เชา เจียนหัว ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสของยูเนสโก ICHEI ร่วมแบ่งปันข้อมูลเชิงลึกเกี่ยว กับแนวโน้มใหม่ที่น่าตื่นเต้นใน ด้านการศึกษา ศาสตราจารย์เชาเผยว่า อุตสาหกรรมการศึกษาทุกวันนี้กำลั งปรับเปลี่ยนตามเทคโนโลยีดิจิทั ลสำคัญ 5 อย่าง ได้แก่ AR, การเรียนรู้แบบไฮบริดส่วนบุคคล, กลศาสตร์เกม, AI และ IoT ยิ่งไปกว่านั้น จะมีรูปแบบการใช้งานใหม่ 5 อย่างในแวดวงการศึกษา ได้แก่ ระบบการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภา พกว่าเดิม การติดตามสุขภาพจิต การศึกษาทางไกลส่วนบุคคล การประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติ และการศึกษาแบบร่วมมือกันส่วนบุ คคล การศึกษาออนไลน์กำลังพลิกโฉมอุต สาหกรรมด้วยความยืดหยุ่น การเข้าถึงที่ง่าย และการปรับเปลี่ยนตามตัวนักเรีย น นอกจากนี้ ระบบอีเลิร์นนิงกำลังค่อย ๆ กลายเป็นวิธีการสอนที่พบเห็นได้ ทั่วไปในการศึกษาออนไลน์เนื่องจ ากผลกระทบของโควิด-19
การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั่วโลกในช่วง 18 เดือนให้หลังนี้ ได้ส่งผลกระทบครั้งใหญ่ต่อการศึ กษาในระดับมหาวิทยาลัยทั่วโลก อาจารย์และนักศึกษาจำนวนมากไม่ส ามารถจัดการเรียนการสอนได้เหมือ นเคย ในเวทีสนทนาครั้งนี้ ผู้ร่วมอภิปรายได้แสดงให้เห็นถึ งแนวทางของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกในการใช้ เทคโนโลยี เพื่อรับมือกับผลกระทบดังกล่าว ตลอดจนแผนและวิสัยทัศน์สำหรับรู ปแบบการสอนและการจัดการในอนาคต และวิธีเร่งการทำดิจิทัลทรานสฟอ ร์เมชันของมหาวิทยาลัยต่างๆ
ศาสตรจารย์แอนดรูว์ เชา ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสของ ICHEI (ยูเนสโก) และรองผู้อำนวยการศูนย์วิจัยการ ศึกษาระดับสูง ของมหาวิทยาลัย Southern University of Science and Technology เผยว่า ICHEI ได้เปิดตัวแพลตฟอร์มระหว่างประเ ทศสำหรับอาจารย์ในระดับอุดมศึ กษาภายใต้ชื่อ International Institute for Online Education (IIOE) หนึ่งในเป้าหมายของ IIOE คือยกระดับความสามารถด้านไอซีที ของอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา เพื่อให้ปรับตัวกับการเปลี่ยนกา รศึกษาสู่รูปแบบดิจิทัลได้
ด้านรองศาสตรจารย์เอิร์ล ลิม รองประธานฝ่ายนวัตกรรมและคุณภาพ การสอน มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ย้ำเตือนว่า เทคโนโลยีจะช่วยให้เราพัฒนาระบบ การเรียนการสอน (และระบบแนะนำ) ที่ประมวลผลตามองค์ประกอบต่าง ๆ เพื่อประเมินว่านักเรียนจะได้เรี ยนรู้ มีทักษะ และบรรลุผลได้อย่างไร อย่างไรก็ตาม องค์ประกอบเรื่องคนสำคัญมากกว่า เพราะเทคโนโลยีเป็นเพียงเครื่อง มือเท่านั้น หากอาจารย์ไม่กำหนดคุณค่าอย่างเ หมาะสม (ระดับความยาก ชุดความรู้ และชุดทักษะ) แก่การประเมิน หากนักศึกษาและอาจารย์ไม่ใช้ประ โยชน์จากคุณสมบัติเหล่านี้ ระบบที่ดีที่สุดก็ไม่มีประโยชน์
สำหรับความท้าทายเบื้องต้นที่มห าวิทยาลัยและสถาบันการเรียนรู้ร ะดับอุดมศึกษาต้องเผชิญอยู่นั้น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิรพล สังข์โพธิ์ รองอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสน เทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ย้ำว่า การทำให้แน่ใจว่านักศึกษาจะมีอุ ปกรณ์และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ ตที่เหมาะสมคือภารกิจแรกในการสร้ างนวัตกรรมการเรียนออนไลน์ กฎระเบียบและข้อบังคับในบางประเ ทศยังเป็นอุปสรรคในการใช้ เทคโนโลยีล้ำสมัย
ในหัวข้อการประเมินและการสอบ ศาสตราจารย์ริคกี้ รองประธานฝ่ายนักศึกษาและการสนั บสนุน มหาวิทยาลัยโอเพ่น ยูนิเวอร์ซิตี้แห่งฮ่องกงให้ควา มเห็นว่า การสอบกำลังถูกมองว่าเป็นเครื่อ งมือแบบเก่าในบริบทปัจจุบัน การสอบอาจจะสะดวกแต่อาจไม่ใช่เค รืองมือเดี่ยวที่ดีที่สุดในปัจจุ บันแล้ว เนื่องจากการรับข้อมูลมีรูปแบบแ ละขอบข่ายใช้ประเมินแตกต่างออกไ ปมากมาย ส่วนความเห็นต่อปัจจัยสู่ความสำ เร็จสำคัญในการเปลี่ยนแปลงสู่ดิ จิทัลในระดับอุดมศึกษานั้น นายโจเซฟ โฮ ผู้อำนวยการจากฝ่ายกลยุทธ์ พีดับบลิวซี ให้ความเห็นว่า ความรู้ในการใช้สิ่งที่มีอยู่ใน ทุกวันนี้และนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการเรียนการสอนออนไลน์นั้นมีบทบาทสำคัญยิ่ง ขณะเดียวกันก็ต้องรักษาการมีส่ว นร่วมนั้นไว้เพื่อให้ได้มากกว่า เพียงการสอนด้วย กุญแจสำคัญคือการรักษาการสื่อสา รให้คงอยู่และให้นักศึกษามีส่ วนร่วมเสมอ ในกรณีเดียวกันนี้ รศ.ดร.นูริแซม ซาฟีย์รองคณบดีฝ่ายเครือข่ายและ ศิษย์เก่า คณะไอเอสที มหาวิทยาลัยแห่งชาติมาเลเซีย (Universiti Kebangsaan Malaysia) เน้นว่า ปัจจัยความสำเร็จสำคัญสำหรับการ เปลี่ยนแปลงสู่ดิจิทัลในระดับอุ ดมศึกษา คือการเปิดรับการสอนออนไลน์แบบใ หม่ รวมถึงการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ มีประสิทธิภาพและการจัดการการเป ลี่ยนสู่การเรียนออนไลน์